ตัวต้านทานโครงข่ายและอาร์เรย์ เป็นชุดของตัวต้านทานคือข้างในมีตั วต้านทานหลายตัวอาจมี 2 , 3 , 4 ,5 , 6 ,7 ,8 , 9 , 10 ตัว หรือมากกว่า เป็นต้น ตัวต้านทานข้างในเหล่านี้วางเรี ยงกันอย่างเป็นระเบียบ
อาจเชื่อมต่อกันเป็นวงจรตัวต้ านทานตามแบบที่ต้องการ ถ้าเชื่อมต่อกันเรียก Bussed Circuit ถ้าตัวทานไม่เชื่อมต่อกันเรียกว่า Isolated Circuit วงจรข้างในมีหลายแบบขึ้นอยู่กั บรุ่นของตัวต้านทานจะเป็นตั วกำหนดสเปค สิ่งที่ต้องพิจารณาคือมี จำนวนตัวต้านทานข้างในกี่ตัว ตำเหน่งขาของตัวตัวต้านทาน ลักษณะวงจรข้างในของตัวต้านทาน ขนาดความกว้างความยาวของตัวต้านทาน ถ้าสเปคไม่เหมือนกันก็ใช้แทนกันไม่ ได้ เนื่องจากเป็นชุดตัวต้ านทานสำเร็จรูปทำให้ สะดวกในการนำไปใช้งานหรื อออกแบบวงจร ตัวต้านทานข้างในมีหลายตัวขณะที่ ใช้พื้นที่น้อยทำให้ประหยัดพื้ นที่บนแผงวงจร PCB รูปร่างของตัวต้านทานมีทั้งแบบ SMD ซึ่งระบุรหัสค่าความต้านทานแบบตัวต้านทาน SMD แบบมีขาสองข้างเหมือน IC หรือ DIP แบบขาเรียง 1 แถวหรือ SIP ( Single inline package ) ถ้าตัวต้านทานมีขนาดใหญ่จะบุชื่อรุ่ นและผู้ผลิตไว้ที่ตัวต้านทานเลยทำให้่ง่ ายในการหารุ่นทดแทน ตัวทานชนิดนี้นิยมใช้ งานในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เช่น Voltage Divider , Signal conditioning , R/2R Ladder Network , Data communication , Networking , Pull-up/Pull-Down Logic gate , portable test equipment เป็นต้น ลองสังเกตรูปร่างของตัวต้ านทานและลักษณะวงจรข้างในตามด้ านล่าง
(ชนิดของตัวต้านทานให้กดดูที่หมวดหมู่ตัวต้านทาน ปุ่มอยู่ตรงด้านข้างจะมีรูปเป็นจำนวนมากให้ดู)
ตัวต้านทานโครงข่ายชนิด Isolated Circuit
ไม่ได้เชื่อมต่อถึงกันหรือแยกกัน
ไม่ได้เชื่อมต่อถึงกันหรือแยกกัน
วงจรภายในของตัวต้านทานโครงข่ายมีหลายแบบต้องดูจาก Datasheet ผู้ผลิต
ยกตัวอย่างมาให้ดู 1 แบบ
ตัวต้านทานโครงข่ายแบบ SMD
ตัวต้านทานโครงข่ายแบบ DIP
ตัวต้านทาน แบบ DIP
ตัวต้านทานโครงข่ายแบบ SIP