วิธีอ่านค่าตัวต้านทาน 5 แถบสีนิยมใช้งานมากโดยเฉพาะ R ค่าความคลาดเคลื่อน 1 % ฝึกอ่านค่า หรือทบทวนการอ่านค่าได้โดยใช้รูปในบทความนี้
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
แถบสีที่ 1 2 และ 3 เป็นตัวตั้ง แถบสีที่ 4 เป็นตัวคูณ ใช้ตารางด้านบนในการแทนค่ารหัสสี
ตัวอย่างที่ 1
จากรูปมีสี น้ำตาล เขียว ดำ ดำ น้ำตาล แทนค่าโดยใช้ตารางด้านบน
1 5 0 x 1 = 150 ohm
เครื่องวัดได้จริง 149.5 ohm
R ค่า 150 1% ohm 10.5W
เครื่องวัดได้จริง 149.5 ohm วัดตัวต้านทานพิสูจน์
ตัวอย่างที่ 2
จากรูปมีสี เขียว ดำ ดำ ดำ น้ำตาล แทนค่าโดยใช้ตารางด้านบน
5 0 0 x 1 = 500 ohm หรือ 0.5 K ohm ทำการแปลงเป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้นโดยหารด้วย 1000 หรือเลือนจุดทศนิยมไปข้างหน้า 3 จุด
เครื่องวัดได้จริง 0.497 K ohm
R ค่า 500 ohm 1% 0.5W
เครื่องวัดได้จริง 0.497 K ohm หรือ 497 ohm วัดตัวต้านทานพิสูจน์
ตัวอย่างที่ 3
จากรูปมีสี น้ำตาล ดำ ดำ น้ำตาล น้ำตาล แทนค่าโดยใช้ตารางด้านบน
1 0 0 x 10 = 1000 ohm หรือ 1 K ohm ทำการแปลงเป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้นโดยหารด้วย 1000 หรือเลือนจุดทศนิยมไปข้างหน้า 3 จุด
เครื่องวัดได้จริง 0.998 K ohm
ตัวอย่างที่ 4
จากรูปมีสี น้ำตาล ดำ ดำ แดง น้ำตาล แทนค่าโดยใช้ตารางด้านบน
1 0 0 x 100 = 10000 ohm หรือ 10 K ohm ทำการแปลงเป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้นโดยหารด้วย 1000 หรือเลือนจุดทศนิยมไปข้างหน้า 3
เครื่องวัดได้จริง 9.97 K ohm
เครื่องวัดได้จริง 9.97 K ohm
ตัวอย่างที่ 5
จากรูปมีสี ม่วง เขียว ดำ ทอง น้ำตาล แทนค่าโดยใช้ตารางด้านบน
7 5 0 x 0.1 = 75 ohm
เครื่องวัดได้จริง 74.6 ohm
R ค่า 75 ohm 1% 0.5W
เครื่องวัดได้จริง 74.6 ohm