คาปาซิเตอร์มอเตอร์
มอเตอร์คาปาซิเตอร์เป็นคาปาซิ เตอร์ที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานกั บมอเตอร์ชนิดเหนี่ยวนำ (Induction Motor) มอเตอร์คาปาซิเตอร์ใช้งานกับพั ดลมระบายความร้อน เครื่องปรับอากาศ (air conditioner) เครื่องทำความเย็น (Refrigerator) และ มอเตอร์ของเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นๆ
หน่วยของตัวเก็บประจุมีหน่วยเป็นไมโครฟารัด µF และอาจเขียนในรูปแบบ "MFD" คาปาซิเตอร์ชนิดนี้แบ่งออกเป็ น 3 ชนิด
1) สตาร์ทคาปาซิเตอร์ (Start capacitors) ทำหน้าที่ช่วยเพิ่มทอร์กหรื อแรงบิดขณะมอเตอร์เริ่มหมุน ทำให้มอเตอร์เริ่มหมุนได้อย่ างรวดเร็ว ตัวเก็บประจุจะต่ออยู่ ในวงจรจนมอเตอร์มีความเร็วรอบ 75% ของความเร็วรอบสูงสุดจากนั้นจะมี สวิตช์แรงเหวี่ยงหนีจากศูนย์ กลางตัดตัวเก็บประจุออกจากวงจร ตัวเก็บประจุแบบนี้มีพิกัดแรงดั น 125VAC 250VAC 300VAC 450VAC วัสดุที่ใช้ทำฉนวนไดอิเล็กทริกข้างในของตัวเก็บประจุชนิ ดนี้เป็น พอลิโพรไพลีน ( Polypropylene (PP) ) , โพลีเอสเตอร์ (Polyester) และ มีชนิด อิเล็กโทรไลต์แบบไม่มีขั้ ว
คุณสมบัติของตัวเก็บประจุชนิ ดนี้คือ มีความสูญเสียต่ำ เสถียรสูง สัมประสิทธิ์อุณหภูมิต่ำ ถ้าสวิตช์แรงเหวี่ยงหนีจากศูนย์ กลางเสียและไม่ตัดตัวเก็บประจุ ออกจากวงจรตัวเก็บประจุก็จะต่ออยู่ในวงจรตลอด ในที่สุดจะทำให้ตัวเก็บประจุ เสีย ตัวอย่างการระบุสเปคและรุ่นสตาร์ทคาปาซิเตอร์ CD60 (US) Motor Start Capacitor CD60 Motor Start Capacitor เป็นต้น
คุณสมบัติของตัวเก็บประจุชนิ
2) รันคาปาซิเตอร์ มอเตอร์ไฟ AC บางชนิด ต้องการรันคาปาซิเตอร์เพื่อเพิ่ มสนามแม่เหล็กไฟฟ้าให้กับขดลวดเสริ ม (auxiliary coil) ตัวเก็บประจุจะต่ออยู่ ในวงจรตลอดเพื่อปรั บกระแสและเลื่อนมุมเฟสทำให้ได้แรงบิ ดและประสิทธิ ภาพการทำงานของมอเตอร์ดีที่สุด รันคาปาซิเตอร์ช่วยเพิ่มแรงบิ ดขณะมอเตอร์เริ่มหมุนและทำงานต่ อเนื่องต่อไป วัสดุที่ใช้ทำฉนวนข้างในตัวเก็บประจุเป็น พอลิโพรไพลีน ( Polypropylene (PP) ) มีพิกัดแรงดันไฟฟ้า 370VAC 450VAC ตัวอย่าง Series ตัวเก็บประจุ CBB60 Motor Run Capacitor , CBB61 Motor Run Capacitor , CBB65 Motor Run Capacitor เป็นต้น
3) ดูอัลรันคาปาซิเตอร์ ( Dual run capacitor ) มีรันคาปาซิเตอร์ 2 ค่าภายในตัวเก็บประจุ 1 ตัวทำให้ประหยัดพื้นที่ และสะดวกในการใช้งาน ตัวเก็บประจุชนิดนี้ใช้กั บมอเตอร์ 2 ตัว
ยกตัวอย่างเครื่องทำความเย็ น รันคาปาซิเตอร์ ตัวที่ 1 ใช้ต่อกับพัดลมระบายความร้อน รันคาปาซิเตอร์ ตัวที่ 2 ใช้ต่อกับคอมเพรสเซอร์ ที่ขั้วเสียบของตัวเก็บประจุ จะมีข้อความบอกข้อมูลการต่อใช้งาน
"C" ย่อมาจาก Common สำหรับต่อขา Common
"FAN" = ต่อพัดลม
"FAN" = ต่อพัดลม
และ "HERM" = HERMetically หมายถึง ให้ต่อกับคอมเพรสเซอร์
เรียบเรียงจาก
https://en.wikipedia.org/wiki/ Motor_capacitor
รูปแสดง คาปาซิเตอร์รัน 2 ค่าความจุ
ที่ขั้วต่อของตัวเก็บประจุจะเขียน C FAN และ HERM
รูปแสดง คาปาซิเตอร์รัน 2 ค่าความจุ
ที่ขั้วต่อของตัวเก็บประจุจะเขียน C FAN และ HERM
"C" ย่อมาจาก Common สำหรับต่อขา Common
"FAN" = สำหรับต่อพัดลม
"FAN" = สำหรับต่อพัดลม
"HERM" = HERMetically หมายถึง ให้ต่อกับคอมเพรสเซอร์