ตัวเก็บประจุชนิดเซรามิคเป็นตั วเก็บประจุมีค่าความจุคงที่และไม่มีขั้ ว ใช้เซรามิคทำหน้าที่เป็นฉนวนไดอิเล็กตริกข้ างใน อาจมีเซรามิค 2 ชั้นหรือมากกว่าที่เรียกว่า Multilayer
ตัวเก็บประจุแบบเซรามิคมีทั้งสีฟ้า และสีน้ำตาลที่ตัว C จะระบุค่าความจุและพิกัดแรงดัน
รูปแสดงตัวอย่างการใช้งานตัวเก็บประจุชนิดเซรามิค
ลักษณะตัวเก็บประจุส่วนใหญ่จะแบนและกลมภาษาอังกฤษเรียกว่า disc ceramic capacitor
มีทั้งสีน้ำตาลและสีฟ้า
รูปแสดงตัวอย่างการใช้งานตัวเก็บประจุชนิดเซรามิค
ลักษณะตัวเก็บประจุส่วนใหญ่จะแบนและกลมภาษาอังกฤษเรียกว่า disc ceramic capacitor
มีทั้งสีน้ำตาลและสีฟ้า
ตัวเก็บประจุชนิดเซรามิค Ceramic Capacitor
รุปแสดงตัวอย่างการใช้งานตัวเก็บประจุชนิดเซรามิคในวงจร
คุณสมบัติของเซรามิคเป็นตั
การใช้งานตัวเก็บประจุแบบเซรามิ คแบ่งเป็น 2 ระดับหรือคลาส
1) ตัวเก็บประจุเซรามิค Class 1 มีคุณสมบัติเสถียรสูง การสูญเสียน้อย ใช้สำหรับวงจรรีโซแนนซ์ มีสัมประสิทธิ์อุณหภูมิเกือบเป็ นเชิงเส้น ค่าความจุแทบจะไม่เปลี่ ยนตามแรงดัน คุณสมบัตินี้เหมาะกับวงจรฟิลเตอร์ที่เน้ นค่า Q สูง (high Q filters) เช่น วงจรออสซิลเลเตอร์ วงจรรีโซแนนซ์ คำศัทพ์ที่ใช้บอกสเปคหรือคุ ณสมบัติของ Class 1 ใน Datasheet ใช้คำว่า NP0/CG/C0G
2) ตัวเก็บประจุเซรามิค Class 2 เน้นคุณสมบัติมีค่าความจุต่อพื้ นที่สูง มีความเสถียรและความถูกต้องน้ อยกว่าแบบแรก ( Class 1) ใช้สำหรับวงจรบัพเฟอร์ วงจรบายพาส วงจรคัปปลิ้ง มีการเปลี่ยนแปลงค่าความจุที ไม่เป็นเชิงเส้นตลอดช่วงอุณหภู มิ แรงดันยังทำให้ค่าความจุเปลี่ ยนค่าด้วย ตามมาตรฐาน EIA RS-198 ตัวเก็บประจุเซรามิค Class 2 จะแบ่งย่อยได้อีกโดยใช้รหั สตามตาราง บอกช่วงอุณหภูมิใช้งานต่ำสุด-สู งสุด และ % การเปลี่ยนแปลงค่าความจุตลอดช่ วงอุณภูมิ
ตัวเก็บประจุเซรามิค Class 2 จะใช้คำว่า X8R X7R X6R X5R X7S Z5U Y5V
ตัวเก็บประจุเซรามิค Class 2 จะใช้คำว่า X8R X7R X6R X5R X7S Z5U Y5V
ตัวเก็บประจุเซรามิค Class 2 สเปค X8R คือสเปคดีที่สุดสำหรับ Class2
เรียงลำดับลงไปถึงดีน้อยที่สุดคือ Y5V ซึ่งมีค่าความคลาดเคลื่อนสูงและตัวเก็บประจุเปลี่ยนค่าตาม
อุณหภูมิ
ตัวเก็บประจุแบบเซรามิคที่นิ ยมใช้งานมากในงานอุปกรณ์อิเล็ กทรอนิกส์จะเป็น ตัวเก็ บประจุเซรามิคแบบหลายชั้น ( multilayer ceramic capacitors (MLCCs) ) เป็นเทคนิคที่ทำให้ตัวเก็บประจุ มีค่าความจุมากขึ้นแต่ใช้พื้นที่ น้อย นอกจากนี้ตัวเก็บประจุชนิดนี้ ยังใช้ในวงจรกำจัดสัญญาณรบกวน (RFI/EMI suppression) วงจรกรองความถี่สูงลงกราวน์
- 50 เรื่อง น่ารู้ เพื่ออ่านต่อ
- ตัวเก็บประจุ คาปาซิเตอร์ (20) โดย (20) = มี 20 เรื่อง
- ตัวต้านทาน รีซิสเตอร์ (22)
- ตัวเหนี่ยวนำ อินดักเตอร์ (6)
- ฟิวส์ FUSE (5)
- อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ อื่นๆ (20)