คาปาซิเตอร์แอร์ถูกออกแบบให้มี คุณสมบัติทางไฟฟ้ าและทางกายภาพที่เหมาะสมกั บการใช้งานในวงจรแอร์ อาจเป็นรูปทรงกระบอกหรือรู ปทรงรี
คาปาซิเตอร์แอร์มีทั้ง แคปรัน และ แคปสตาร์ท คุณสมบัติทีสำคัญ เช่น มีความสูญเสียต่ำ มีค่า ESR ต่ำ ทนกระแสริปปิ้ลได้สูง ซ่อมตัวเองได้ (Self-healing property) อายุการใช้งานยาวนาน วัสดุที่ใช้ทำฉนวนข้างในคาปาซิเตอร์คื อ metallized polypropylene film ถ้าค่าความจุสูงๆอาจเป็นคาปาซิเตอร์ชนิดอิเล็กโทรไลต์ไม่มีขั้ว สเปคให้อ้างอิงจากเอกสารผู้ผลิต เช่น CD60 series aluminum electrolytic capacitor บอกไว้ชัดเจนว่า เป็นคาปาซิเตอร์ชนิดอิเล็กโทรไลต์ไม่มีขั้ว
1) คาปาซิเตอร์สตาร์ทแอร์ เป็นตัวที่เสียบ่ อย คาปาซิเตอร์สตาร์ทแอร์ทำหน้าที่เลื่อนมุมเฟสกระแสไฟขณะสตาร์ท เพื่อให้เกิดแรงทอร์กเพี ยงพอให้มอเตอร์เริ่มหมุนได้ อย่างราบรื่นและปกติ ตัวอย่างสเปคที่ใช้บ่อย เช่น Series CD60 สเปคตามมาตรฐาน ANSI/EIA-463 ใช้กับมอเตอร์ AC 1 เฟส 50/60Hz พิกัดแรงดัน 110-330VAC ค่าความจุระบุเป็นช่วง เช่น 145-175MF 43-54UF 30-36UF เป็นต้น เคสคาปาทำจาก bakelite plasticized ซึ่งแข็งแรง เป็นฉนวนที่ดี ซีลปิดป้องกันชิ้นส่วนข้างในได้อย่างดี คาปาซิเตอร์สตาร์ท Series CD60 ถูกนำไปใช้งานหลายอย่าง เช่น แอร์ ตู้เย็น เครืองซักผ้า พัดลม ประตูเลื่อน เป็นต้น
คาปาซิเตอร์แอร์ คาปาซิเตอร์สตาร์ทแอร์ Air Conditioner Capacitor |
2) คาปาซิเตอร์รัน ใช้ทั้งกับคอมเพรสเซอร์ และ พัดลม มี 2 แบบย่อย 2.1 ) คาปาซิเตอร์รัน 1 ค่าความจุ 2.2) คาปาซิเตอร์รัน 2 ค่าความจุ (dual-run capacitor มีค่าความจุ 2 ค่าในคาปาซิเตอร์รัน 1 ตัว ( ดูรูปประกอบ ) ทำให้ขนาดคาปาซิเตอร์โดยรวมมีขนาดเล็ กลง คาปาซิเตอร์รันทำหน้าที่ปรั บกระแสหรือเลื่อนมุ มเฟสกระแสในขดลดของมอเตอร์ เพื่อให้ได้แรงทอร์คและประสิทธิ ภาพการทำงาน คาปาซิเตอร์รันถูกออกแบบมาให้ ใช้งานต่อเนื่องได้และมีการเสียน้อยกว่าคาปาซิเตอร์ สตาร์ท คาปาซิเตอร์รัน 2 ค่าความจุ (dual-run capacitor ) จะมีอักษรที่ขั้วเสียบกำกั บไว้เพื่อให้ต่อใช้งานได้อย่างถูกต้ อง ต้องต่อให้ถูกต้องตามชื่อขั้้วที่ระบุไว้
โดย
C = Common ให้ต่อขา Common
"H" หรือ "Herm" ย่อมาจาก "Hermetic หมายถึง ให้ต่อกับคอมเพรสเซอร์
"F" ย่อมาจาก "Fan หมายถึงให้ต่อพัดลม
การระบุค่า เช่น 50μF+2.5μF หมายถึงตัวแรกมีค่า 50μF และตัวที่สองมีค่า 2.5μF ปกติแล้วตัวที่มีค่าความจุน้อย ( 2.5μF ) ใช้ต่อกับพัดลม และตัวที่มีค่าความจุมาก ( 50μF ) ใช้ต่อคอมเพรสเซอร์ ดูรูปด้านล่าง
โดย
C = Common ให้ต่อขา Common
"H" หรือ "Herm" ย่อมาจาก "Hermetic หมายถึง ให้ต่อกับคอมเพรสเซอร์
"F" ย่อมาจาก "Fan หมายถึงให้ต่อพัดลม
การระบุค่า เช่น 50μF+2.5μF หมายถึงตัวแรกมีค่า 50μF และตัวที่สองมีค่า 2.5μF ปกติแล้วตัวที่มีค่าความจุน้อย ( 2.5μF ) ใช้ต่อกับพัดลม และตัวที่มีค่าความจุมาก ( 50μF ) ใช้ต่อคอมเพรสเซอร์ ดูรูปด้านล่าง
ที่ขั้วต่อจะเขียน C FAN และ HERM
คาปาซิเตอร์แอร์ แคปรันแอร์ Air Conditioner Capacitor |
คาปาซิเตอร์แอร์ แคปรันแอร์ Air Conditioner Capacitor |
ตัวอย่าง คาปาซิเตอร์รัน 1 ค่าความจุ
คาปาซิเตอร์แอร์ แคปรันแอร์ Air Conditioner Capacitor |
ตัวอย่าง คาปาซิเตอร์รัน 2 ค่าความจุ
คาปาซิเตอร์แอร์ |