เป็นที่ทราบแล้วว่า แถบสีที่ 1 และ แถบสีที่ 2 เป็นตัวเลขตัวตั้ง แถบสีที่ 3 เป็นตัวคูณ ส่วนแถบสีที่ 4 เป็น % ค่าความคาดเคลื่อน ดูที่ช่องตัวคูณและสังเกตค่าในตาราง ถ้า น้ำตาลเท่ากับคูณด้วย x10
แดงเท่ากับคูณด้วย x100 ส้มคูณด้วย x1000 ซึ่ง 1000 ก็เท่ากับ 1K นั้นเอง เวลาอ่านค่า R ที่มีรหัสสีที่ 3 เป็นสีส้มก็ให้อ่านค่าออกมาเป็น K Ohm ได้เลย ตัวคูณอื่นๆที่ค่ามากขึ้นก็ให้คิดเหมือนกัน
เช่น ถ้าเจอตัวคูณเป็นสีน้ำเงินก็ให้อ่านค่าออกมาเป็น Mega Ohm ได้เลย ด้วยวิธีการนี้จะทำให้อ่านค่า R ออกมาได้อย่างรวดเร็วขึ้น
ค่าสีตัวต้านทาน ใช้ อ่านค่าตัวต้านทาน
ฝึกอ่านค่า R จากตัวอย่างรูปจริงพร้อมวัดพิสูจน์
ตัวอย่างที่ 1
ตัวต้านทานมีแถบสี น้ำตาล เขียว น้ำตาล ทอง ดูในตารางค่าสีตัวคูณ น้ำตาล = x10 แทนค่าจะได้
1 5 x 10 = 150 ohm ด้วยวิธีการที่รวดเร็วขึ้นตัวคูณ น้ำตาลคือ 1 ดังนั้นให้เติม 0 1 ตัว
15 เติม 0 ต่อท้าย 1 ตัว = 150 ohm
ทำการวัดด้วยเครื่องวัดได้จริง 147.9 ohm
วัดตัวต้านทาน พิสูจน์ เครื่องวัดได้จริง 147.9 ohm
ตัวอย่างที่ 2
ตัวต้านทานมีแถบสี ส้ม ส้ม น้ำตาล ดูในตารางค่าสีตัวคูณ น้ำตาล = x10 แทนค่าจะได้
3 3 x 10 = 330 ohm ด้วยวิธีการที่รวดเร็วขึ้นตัวคูณ น้ำตาลคือ 1 ดังนั้นให้เติม 0 1 ตัว
33 เติม 0 ต่อท้าย 1 ตัว = 330 ohm
ทำการวัดด้วยเครื่องวัดได้จริง 330 ohm
เครื่องวัดได้จริง 330 ohm
ตัวอย่างที่ 3
ตัวต้านทานมีแถบสี เหลือง ม่วง แดง ดูในตารางค่าสีตัวคูณ แดง = x100 แทนค่าจะได้
4 7 x 100 = 4700 ohm หรือ 4.7 K ohm ( ทำการแปลงเป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้น 1 ระดับได้โดยหารด้วย 1000 หรือเลื่อนทศนิยมไปข้างหน้า 3 จุด )
ด้วยวิธีการที่รวดเร็วขึ้นตัวคูณ แดง คือ 2 ดังนั้นให้เติม 0 2 ตัว
47 เติม 0 ต่อท้าย 2 ตัว = 4700 ohm
ทำการวัดด้วยเครื่องวัดได้จริง 4.68 K ohm
เครื่องวัดได้จริง 4.68 K ohm
ตัวอย่างที่ 4
ตัวต้านทานมีแถบสี เขียว น้ำเงิน น้ำตาล ดูในตารางค่าสีตัวคูณ น้ำตาล = x10 แทนค่าจะได้
5 6 x 10 = 560 ohm หรือ 0.56 K ohm ( ทำการแปลงเป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้น 1 ระดับได้โดยหารด้วย 1000 หรือเลื่อนทศนิยมไปข้างหน้า 3 จุด )
ทำการวัดด้วยเครื่องวัดได้จริง 0.557 K ohm
เครื่องวัดได้จริง 0.557 K ohm
ตัวอย่างที่ 5
ตัวต้านทานมีแถบสี น้ำตาล แดง น้ำตาล ดูในตารางค่าสีตัวคูณ น้ำตาล = x10 แทนค่าจะได้
1 2 x 10 = 120 ohm
ทำการวัดด้วยเครื่องวัดได้จริง 118.8 ohm
เครื่องวัดได้จริง 118.8 ohm
ตัวอย่างที่ 1
ตัวต้านทานมีแถบสี น้ำตาล เขียว น้ำตาล ทอง ดูในตารางค่าสีตัวคูณ น้ำตาล = x10 แทนค่าจะได้
1 5 x 10 = 150 ohm ด้วยวิธีการที่รวดเร็วขึ้นตัวคูณ น้ำตาลคือ 1 ดังนั้นให้เติม 0 1 ตัว
15 เติม 0 ต่อท้าย 1 ตัว = 150 ohm
ทำการวัดด้วยเครื่องวัดได้จริง 147.9 ohm
R ค่า 150 ohm 0.5W
วัดตัวต้านทาน พิสูจน์ เครื่องวัดได้จริง 147.9 ohm
ตัวอย่างที่ 2
ตัวต้านทานมีแถบสี ส้ม ส้ม น้ำตาล ดูในตารางค่าสีตัวคูณ น้ำตาล = x10 แทนค่าจะได้
3 3 x 10 = 330 ohm ด้วยวิธีการที่รวดเร็วขึ้นตัวคูณ น้ำตาลคือ 1 ดังนั้นให้เติม 0 1 ตัว
33 เติม 0 ต่อท้าย 1 ตัว = 330 ohm
ทำการวัดด้วยเครื่องวัดได้จริง 330 ohm
R 330 ohm 0.5W
เครื่องวัดได้จริง 330 ohm
ตัวอย่างที่ 3
ตัวต้านทานมีแถบสี เหลือง ม่วง แดง ดูในตารางค่าสีตัวคูณ แดง = x100 แทนค่าจะได้
4 7 x 100 = 4700 ohm หรือ 4.7 K ohm ( ทำการแปลงเป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้น 1 ระดับได้โดยหารด้วย 1000 หรือเลื่อนทศนิยมไปข้างหน้า 3 จุด )
ด้วยวิธีการที่รวดเร็วขึ้นตัวคูณ แดง คือ 2 ดังนั้นให้เติม 0 2 ตัว
47 เติม 0 ต่อท้าย 2 ตัว = 4700 ohm
ทำการวัดด้วยเครื่องวัดได้จริง 4.68 K ohm
R ค่า 4.7 K ohm 0.5W
เครื่องวัดได้จริง 4.68 K ohm
ตัวอย่างที่ 4
ตัวต้านทานมีแถบสี เขียว น้ำเงิน น้ำตาล ดูในตารางค่าสีตัวคูณ น้ำตาล = x10 แทนค่าจะได้
5 6 x 10 = 560 ohm หรือ 0.56 K ohm ( ทำการแปลงเป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้น 1 ระดับได้โดยหารด้วย 1000 หรือเลื่อนทศนิยมไปข้างหน้า 3 จุด )
ทำการวัดด้วยเครื่องวัดได้จริง 0.557 K ohm
R ค่า 0.56 K ohm 0.5W
เครื่องวัดได้จริง 0.557 K ohm
ตัวอย่างที่ 5
ตัวต้านทานมีแถบสี น้ำตาล แดง น้ำตาล ดูในตารางค่าสีตัวคูณ น้ำตาล = x10 แทนค่าจะได้
1 2 x 10 = 120 ohm
ทำการวัดด้วยเครื่องวัดได้จริง 118.8 ohm
R ค่า 120 ohm 0.5W
เครื่องวัดได้จริง 118.8 ohm
ตารางอ่านตัวต้านทาน 4 แถบสี |